“ทำงานมานานแล้ว อายุก็มากขึ้นทุกปี คิดไม่ออกจริง ๆ ว่าจะอยู่ต่อหรือย้ายไปเริ่
เป็นประเด็นที่เราได้ยินคนพ
โดยเฉพาะกับผู้สมัครงานระดั
…เพราะในแต่ละองค์กรที่เร
ขอยกตัวอย่างง่าย ๆ
บริษัทญี่ปุ่น มีความภักดีในองค์กรสูง บางคนทำงานตั้งแต่เริ่มงานจ
บริษัทฝรั่ง นิยมคนกล้าพูด กล้าทำ เมื่อถึงเวลาต้องเติบโต ก็เข้าไปหาโอกาสใหม่ ๆ ในบริษัทอื่น
บริษัทไทย ก็มีเรื่องระบบอาวุโส หัวหน้าที่อายุน้อย ก็อาจได้รับการยอมรับยากกว่
ทั้งหมดนี้คือความต่างในแบบ
แต่ไม่ว่าองค์กรแบบไหน ก็มีรูปแบบของตำแหน่งงานเป็
คือฐานกว้าง และยอดแหลม ซึ่งหมายความว่า “ยิ่งอายุมากขึ้น ก็ยิ่งต้องไต่ขึ้นไปอยู่ตรง
…แล้วอายุมากขึ้น เราไม่ควรย้ายงาน จริงหรือ?
จากประสบการณ์ที่เราต้อง recruit (คัดเลือก) พนักงานเป็นจำนวนมาก เป็นเวลามากว่าสิบปี
ถ้าอายุงานและอายุของ candidate (ผู้สมัคร) เดินทางมาถึงระดับนึงแล้ว
คุณจะต้องตอบคำถามของตัวเอง
…5 ปีข้างหน้าเราจะเป็นอย่างไร
…10 ปีข้างหน้าเราจะเป็นอย่างไร
เพื่อให้คุณมีจุดมุ่งหมายที
หรือ recruiter (ผู้สรรหาพนักงาน) ที่เป็นตัวแทนคุณในการตกลงก
และสิ่งนี้จะไม่ทำให้คุณหาง
ในทางกลับกัน หากเราอยู่ที่ไหนนานเกินไป
สิ่งที่จะตามมานอกจากความเค
หากอยู่ที่เดิม ทำแบบเดิมภายใต้ “comfort zone” รายได้ก็เติบโตน้อยลง
เพราะโดยมาตรฐานของพนักงานท
แต่การเปลี่ยนงานครั้งนึง จะสามารถเพิ่มเงินเดือนได้เ
“หากไม่กล้าเปลี่ยน ไม่กล้าเดินหน้า คุณจะติดอยู่กับที่”
ตราบใดที่เรายังต้องใช้ชีวิ
การหาโอกาสใหม่ ๆ ให้กับตัวเอง ย่อมไม่ใช่เรื่องเสียหาย
เป็นกำลังใจให้กับทุกคนที่ก